หน้าเว็บ

เป้าหมาย (Understanding Goal) : เพื่อปูพื้นฐานเรียนเศษส่วนและทศนิยมที่มีความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนยิ่งขึ้นให้กับผู้เรียน และเพื่อฝึกการพัฒนาสมองของผู้เรียนผ่านกิจกรรมฝึกทักษะและกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์ และนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

Week7

เป้าหมายรายสัปดาห์ : นักเรียนมีความเข้าใจการดำเนินการลบเศษส่วน ในกรณีที่ส่วนไม่เท่ากัน และสามารถประยุกต์ใช้สร้างสรรค์โจทย์ที่ซับซ้อนยิ่งขึ้นมาเองได้
      

บันทึกการเรียนรู้ของศิษย์ สัปดาห์ที่ 6

     ในการดำเนินการเรื่องดังกล่าวพี่ๆ ป.5 มีความเข้าใจการลบเศษส่วนในกรณีที่ส่วนเทากันอยู่แล้ว และในเรื่องดังกล่าวทุกๆ คน จะมองเห็นภาพการลบเศษส่วน(กรณีส่วนไม่เท่ากัน) จากสื่อชุดแผ่นร้อย สื่อดังกว่าวพี่ๆ หลายคนใช้จนชำนาญและบางคนสามารถเปรียบเทียบค่าของเศษส่วนกับทศนิยม ร้อยละ ได้เป็นอย่างดี 
   ในส่วนของเพื่อนๆ ที่เรียนรู้ได้ช้าคุณครูจะมีแบบฝึกให้ลองทำ และให้เพื่อนๆ ที่เรียนรู้ ดังนี้
การบวกเศษส่วน (กรณีส่วนเท่ากัน)

การลบเศษส่วน (กรณีส่วนเท่ากัน)
       โดยสิ่งที่นำมาฝึกฝนให้กับกลุ่มพี่ๆ ที่เรียนรู้ช้านี้ ได้ขมวดความเข้าใจให้ทุกครั้ง(ตามภาพ) และสอบถามความเข้าใจอย่างสม่ำเสมอ เพราะเป็นเนื้อหาที่เรียนผ่านมาแล้วส่วนหนึ่ง และครูจะทำแบบฝึกให้พี่ๆ แต่ละคนที่ต่างกัน บางครั้งอาจใช้ชุดฝึกที่มีในแบบเรียนเล่มเก่าที่ไม่ใช้มาให้ฝึกฝนลองทำ จนให้เขาเหล่านี้เข้าใจๆ และทันเพื่อน
   ส่วนเพื่อนที่เรียนรู้เร็วจะเข้าประกบ ช่วยเหลือเพื่อนที่ช้าทุกๆ ชั่วโมงให้การเรียนรู้คณิตฯ ของครูกับศิษย์

โจทย์เหล่านี้ส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับพี่ๆ ป.5 อย่างยิ่ง เพราะครูจะเชื่อมโยงให้พีชคณิตฯ มาแทรกในการเรียนรู้ทุกๆ เนื้อหา หัวใจสำคัญในการออกแบบกิจกรรม ครูจะเสริมพีชคณิตฯ ในการเรียนรู้ ให้เด็กๆ คิดวิเคราะห์ เชื่อมโยงความเข้าใจเป็นทุกคน

1 ความคิดเห็น:

  1. ในการดำเนินการเรื่องดังกล่าวพี่ๆ ป.5 มีความเข้าใจการลบเศษส่วนในกรณีที่ส่วนเทากันอยู่แล้ว และในเรื่องดังกล่าวทุกๆ คน จะมองเห็นภาพการลบเศษส่วน(กรณีส่วนไม่เท่ากัน) จากสื่อชุดแผ่นร้อย สื่อดังกว่าวพี่ๆ หลายคนใช้จนชำนาญและบางคนสามารถเปรียบเทียบค่าของเศษส่วนกับทศนิยม ร้อยละ ได้เป็นอย่างดี
    ในส่วนของเพื่อนๆ ที่เรียนรู้ได้ช้าคุณครูจะมีแบบฝึกให้ลองทำ และให้เพื่อนๆ ที่เรียนรู้ ดังนี้

    การบวกเศษส่วน (กรณีส่วนเท่ากัน) / การลบเศษส่วน (กรณีส่วนเท่ากัน)

    โดยสิ่งที่นำมาฝึกฝนให้กับกลุ่มพี่ๆ ที่เรียนรู้ช้านี้ ได้ขมวดความเข้าใจให้ทุกครั้ง(ตามภาพ) และสอบถามความเข้าใจอย่างสม่ำเสมอ เพราะเป็นเนื้อหาที่เรียนผ่านมาแล้วส่วนหนึ่ง และครูจะทำแบบฝึกให้พี่ๆ แต่ละคนที่ต่างกัน บางครั้งอาจใช้ชุดฝึกที่มีในแบบเรียนเล่มเก่าที่ไม่ใช้มาให้ฝึกฝนลองทำ จนให้เขาเหล่านี้เข้าใจๆ และทันเพื่อน
    ส่วนเพื่อนที่เรียนรู้เร็วจะเข้าประกบ ช่วยเหลือเพื่อนที่ช้าทุกๆ ชั่วโมงให้การเรียนรู้คณิตฯ ของครูกับศิษย์

    โจทย์เหล่านี้ส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับพี่ๆ ป.5 อย่างยิ่ง เพราะครูจะเชื่อมโยงให้พีชคณิตฯ มาแทรกในการเรียนรู้ทุกๆ เนื้อหา หัวใจสำคัญในการออกแบบกิจกรรม ครูจะเสริมพีชคณิตฯ ในการเรียนรู้ ให้เด็กๆ คิดวิเคราะห์ เชื่อมโยงความเข้าใจเป็นทุกคน

    ตอบลบ